การจดทะเบียนสมรสต้องใช้อะไรบ้าง ทำอย่างไร พร้อมขั้นตอนอย่างละเอียด
การจดทะเบียนสมรสต้องใช้อะไรบ้าง
การจดทะเบียนสมรสต้องใช้อะไรบ้าง มีวิธีดำเนินการอย่างไร ค่าธรรมเนียมเท่าไหร่ หากเคยสมรสมาแล้วต้องทำอย่างไร จดทะเบียนสมรสแล้วต้องเปลี่ยนเอกสารอะไรบ้าง ข้อควรรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจดทะเบียนสมรส เรารวบรวมมาให้คุณแล้วที่นี่
เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนสมรส มีดังนี้
1.บัตรประจำตัวประชนหรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้ ตัวจริงของทั้งฝ่ายชายและหญิง (บัตรที่ยังไม่หมดอายุ)
2.ทะเบียนบ้านตัวจริง และสำเนา
3.พยาน 2 คน (พร้อมบัตรประชาชนของพยานด้วย)
4.แบบฟอร์ม คร.1 หรือ คำร้องขอจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัว ( ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม คร.1) (สามารถขอรับที่เขตแล้วเขียนตรงนั้นได้เลย)
กรณีเป็นชาวต่างชาติ ให้เตรียมเอกสารเหล่านี้เพิ่มเติม
*สำเนาหนังสือเดินทางต่างประเทศ (Passport)
*หนังสือรับรองสถานภาพบุคคลจากสถานทูต หรือสถานกงสุล หรือองค์การของรัฐบาลประเทศนั้นมอบหมาย พร้อมแปล และนับรองว่าแปลถูกต้อง
กรณีที่เคยแต่งงานมาก่อน ให้เตรียมเอกสารเหล่านี้เพิ่มเติม
*หลักฐานการหย่า
*ใบสูจิบัตรและทะเบียนบ้านของบุตร (หากมีบุตรที่เกิดก่อนจะมาจดทะเบียนสมรส)
*หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ เมื่อการสมรสครั้งก่อนได้สิ้นสุดไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เว้นแต่ มีการคลอดบุตรไปแล้วในระหว่างที่รอ สมรสกับคู่สมรสเดิม มีใบรับรองแพทย์ว่าไม่ได้ตั้งครรภ์ และศาลมีคำสั่งให้สมรสได้
*กรณีผู้สมรสตาย ให้ใช้หลักฐานการตาย เช่น ใบมรณะบัตร
การจดทะเบียนสมรสต้องใช้อะไรบ้าง มีวิธีดำเนินการอย่างไร ค่าธรรมเนียมเท่าไหร่ หากเคยสมรสมาแล้วต้องทำอย่างไร จดทะเบียนสมรสแล้วต้องเปลี่ยนเอกสารอะไรบ้าง ข้อควรรู้ต่างๆ เกี่ยวกับการจดทะเบียนสมรส เรารวบรวมมาให้คุณแล้วที่นี่
เอกสารที่ใช้ในการจดทะเบียนสมรส มีดังนี้
1.บัตรประจำตัวประชนหรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้ ตัวจริงของทั้งฝ่ายชายและหญิง (บัตรที่ยังไม่หมดอายุ)
2.ทะเบียนบ้านตัวจริง และสำเนา
3.พยาน 2 คน (พร้อมบัตรประชาชนของพยานด้วย)
4.แบบฟอร์ม คร.1 หรือ คำร้องขอจดทะเบียนและบันทึกทะเบียนครอบครัว ( ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม คร.1) (สามารถขอรับที่เขตแล้วเขียนตรงนั้นได้เลย)
กรณีเป็นชาวต่างชาติ ให้เตรียมเอกสารเหล่านี้เพิ่มเติม
*สำเนาหนังสือเดินทางต่างประเทศ (Passport)
*หนังสือรับรองสถานภาพบุคคลจากสถานทูต หรือสถานกงสุล หรือองค์การของรัฐบาลประเทศนั้นมอบหมาย พร้อมแปล และนับรองว่าแปลถูกต้อง
กรณีที่เคยแต่งงานมาก่อน ให้เตรียมเอกสารเหล่านี้เพิ่มเติม
*หลักฐานการหย่า
*ใบสูจิบัตรและทะเบียนบ้านของบุตร (หากมีบุตรที่เกิดก่อนจะมาจดทะเบียนสมรส)
*หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ เมื่อการสมรสครั้งก่อนได้สิ้นสุดไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เว้นแต่ มีการคลอดบุตรไปแล้วในระหว่างที่รอ สมรสกับคู่สมรสเดิม มีใบรับรองแพทย์ว่าไม่ได้ตั้งครรภ์ และศาลมีคำสั่งให้สมรสได้
*กรณีผู้สมรสตาย ให้ใช้หลักฐานการตาย เช่น ใบมรณะบัตร
กรณีที่คู่สมรสที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ยังไม่ครบ 17 ปี) ให้กระทำดังนี้
*ต้องนำบิดาและมารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบธรรมมาให้ความยินยอม
*หากผู้ปกครองไม่ได้มาด้วย ให้เตรียมหนังสือให้ความยินยอมมาด้วย
การจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน
>ติดต่อที่สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอ ล่วงหน้าก่อนวันงานอย่างน้อย 7 วัน
>เตรียมเอกสารสำหรับจดทะเบียน ตามที่กล่าวข้างต้นให้ครบ
ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนสมรส
*จดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนที่จด ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
*จดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน ต้องเสียค่าธรรมเนียน 200 บาท พร้อมจัดยานพาหนะ รับ - ส่ง นายทะเบียนด้วย
*จดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลจะต้องมีการเสียค่าธรรมเนียม 1 บาท
ข้อควรรู้ในการจดทะเบียนสมรส
1.สามารถให้นายทะเบียนลงรายอะเอียดข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือเรื่องอื่น ๆ ในช่องบันทึกได้
2.เมื่อพิมพ์ข้อความลงในทะเบียนสมรสแล้ว สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ ก่อนที่จะสั่งพิมพ์ เนื่องจากพิมพ์แล้วจะไม่สามารถเรียกกลับมาแก้ไขได้อีก
3.สำหรับฝ่ายหญิงที่เปลี่ยนคำนำหน้าจาก "นางสาว" เป็น "นาง" หรือเปลี่ยนไปใช้ "นามสกุลสามี" ให้เก็บหนังสือสำคัญการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อสกุล (ช.๕) ไว้ดีๆ เพราะคุณต้องใช้เป็นหลักฐานในการเปลี่ยนแปลงชื่อ-สกุลกับเอกสารอื่นๆ ด้วยค่ะ
*ต้องนำบิดาและมารดาหรือผู้ปกครองโดยชอบธรรมมาให้ความยินยอม
*หากผู้ปกครองไม่ได้มาด้วย ให้เตรียมหนังสือให้ความยินยอมมาด้วย
การจดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน
>ติดต่อที่สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอ ล่วงหน้าก่อนวันงานอย่างน้อย 7 วัน
>เตรียมเอกสารสำหรับจดทะเบียน ตามที่กล่าวข้างต้นให้ครบ
ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนสมรส
*จดทะเบียนสมรส ณ สำนักทะเบียนที่จด ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม
*จดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียน ต้องเสียค่าธรรมเนียน 200 บาท พร้อมจัดยานพาหนะ รับ - ส่ง นายทะเบียนด้วย
*จดทะเบียนสมรสนอกสำนักทะเบียนในท้องที่ห่างไกลจะต้องมีการเสียค่าธรรมเนียม 1 บาท
ข้อควรรู้ในการจดทะเบียนสมรส
1.สามารถให้นายทะเบียนลงรายอะเอียดข้อตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือเรื่องอื่น ๆ ในช่องบันทึกได้
2.เมื่อพิมพ์ข้อความลงในทะเบียนสมรสแล้ว สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ ก่อนที่จะสั่งพิมพ์ เนื่องจากพิมพ์แล้วจะไม่สามารถเรียกกลับมาแก้ไขได้อีก
3.สำหรับฝ่ายหญิงที่เปลี่ยนคำนำหน้าจาก "นางสาว" เป็น "นาง" หรือเปลี่ยนไปใช้ "นามสกุลสามี" ให้เก็บหนังสือสำคัญการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อสกุล (ช.๕) ไว้ดีๆ เพราะคุณต้องใช้เป็นหลักฐานในการเปลี่ยนแปลงชื่อ-สกุลกับเอกสารอื่นๆ ด้วยค่ะ
สถานที่และระยะเวลาในบริการจดทะเบียนสมรส
1.สำนักงานทะเบียนเขตพื้นที่ กทม. : เปิดให้บริการวัน จันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแต่เวลา 08:30 - 16:30 น. (มีพักเที่ยง)
2.สำนักทะเบียนอำเภอทุกแห่ง :
3.ปิดให้บริการวัน จันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแต่เวลา 08:30 - 16:30 น. (มีพักเที่ยง)
ขั้นตอนและระยะเวลาในบริการจดทะเบียนสมรส
1.ตรวจสอบเอกสาร ใช้เวลาประมาณ 30 นาที
2.การพิจารณา ใช้เวลาประมาณ 2.5 ชั่วโมง
หลังการจดทะเบียนสมรสแล้ว ต้องแก้เอกสารอะไรบ้าง
-บัตรประจำตัวประชาชน
-หนังสือเดินทางต่างประเทศ (Passport)
-วีซ่า
-ใบขับขี่
-ทะเบียนรถ
-บัญชีธนาคาร
-บัตรเครดิต
-ประกันสังคม
-ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต
-เอกสารสำคัญอื่นๆ
เครดิตแหล่งข้อมูล : th.theasianparent
1.สำนักงานทะเบียนเขตพื้นที่ กทม. : เปิดให้บริการวัน จันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแต่เวลา 08:30 - 16:30 น. (มีพักเที่ยง)
2.สำนักทะเบียนอำเภอทุกแห่ง :
3.ปิดให้บริการวัน จันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดที่ทางราชการกำหนด) ตั้งแต่เวลา 08:30 - 16:30 น. (มีพักเที่ยง)
ขั้นตอนและระยะเวลาในบริการจดทะเบียนสมรส
1.ตรวจสอบเอกสาร ใช้เวลาประมาณ 30 นาที
2.การพิจารณา ใช้เวลาประมาณ 2.5 ชั่วโมง
หลังการจดทะเบียนสมรสแล้ว ต้องแก้เอกสารอะไรบ้าง
-บัตรประจำตัวประชาชน
-หนังสือเดินทางต่างประเทศ (Passport)
-วีซ่า
-ใบขับขี่
-ทะเบียนรถ
-บัญชีธนาคาร
-บัตรเครดิต
-ประกันสังคม
-ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต
-เอกสารสำคัญอื่นๆ
เครดิตแหล่งข้อมูล : th.theasianparent
เครดิต :
ข่าวดารา ข่าวในกระแส บน Facebook อัพเดตไว เร็วทันใจ คลิกที่นี่!!" ประกาศ "
ร่วมแสดงความคิดเห็น